Category: ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการนำเข้าส่งออก
ตั๋วสัญญาใช้เงิน Promissory Note
รู้จักท่าเรือคลองเตย
คลังสินค้าทัณฑ์บน (Bonded Warehouse)
สนใจคอร์สเรียนนำเข้าส่งออก อ่านที่นี่ สนใจคอร์สเริ่มต้นนำเข้าส่งออก คลิกที่นี่
Read Moreภาษีมูลค่าเพิ่มสำหรับการนำเข้าส่งออก
ภาษีมูลค่าเพิ่มสำหรับการนำเข้าส่งออก สนใจเรียนนำเข้าส่งออก คลิกที่นี่
Read Moreการคำนวณต้นทุนนำเข้าสินค้า
การคำนวณต้นทุนสินค้านำเข้า ปัจจัยในการคำนวณต้นทุนสินค้านำเข้ามีหลายอย่าง และเราต้องศึกษาให้ดีก่อนจะนำเข้ามาจริง เพราะบางครั้งอาจมีต้นแฝงที่เราไม่รู้ตัว เช่น ค่าเอกสารเพิ่มเติม ค่าเบี้ยใบ้รายทาง เป็นต้น ปัจจัยที่มีผลกระทบในการคำนวณต้นทุนสินค้านำเข้า มีดังนี้ ราคาสินค้าในเทอม FOB ค่าขนส่งระหว่างประเทศ ค่าเรือ หรือ เครื่องบิน ค่าประกันภัยการขนส่ง ภาษีนำเข้า (อากรขาเข้า) ภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีสรรพสามิต และมหาดไทย (ถ้ามี) ค่าบริการดำเนินพิธีศุลกากร ค่าขนส่งสินค้าในประเทศ จากนั้นเราจะได้ต้นทุนสินค้าจริง ที่ของเข้ามาในโกดังของเราครับ เรื่องน่ารู้อื่นๆ อัตราแลกเปลี่ยน ใช้อัตราในใบขนสินค้าขาเข้า สนใจเรียนนำเข้าส่งออก คลิกที่นี่
Read Moreการตั้งราคาสินค้าส่งออก
การตั้งราคาสินค้าส่งออก
Read Moreสิทธิประโยชน์ทางการค้าสำหรับผู้นำเข้าส่งออก
ในการนำเข้าส่งออกสินค้า นอกจากการดำเนินงานในขั้นตอนพิธีการตามปกติแล้ว ยังมีอีกสิ่งที่ผู้นำเข้าส่งออกควรรู้และต้องรู้ เพื่อไม่ให้เสียผลประโยชน์ในการทำธุรกิจนำเข้าส่งออก โดยสิทธิประโยชน์ต่างๆ นั้น มีที่มาหรือความน่าสนใจแตกต่างกัน ซึ่งเหมาะสมกับการใช้งานและประเภทธุรกิจของผู้นำเข้าส่งออก
Read Moreขั้นตอนการวิเคราะห์ตลาดส่งออก
ในการเลือกประเทศเป้าหมายเพื่อส่งออกสินค้านั้น ต้องพิจารณาในหลายๆ ปัจจัย โดยแต่ละประเทศมีความแตกต่างกันในด้านของ สังคมและวัฒนธรรม ภาษา ประชากรศาสตร์ ภูมิศาสตร์ ระบบกฎหมาย เศรษฐกิจ ข้อบังคับทางการค้า อัตราภาษี นโยบายทางการค้า อัตราแลกเปลี่ยน ฯลฯ ซึ่งผู้ส่งออกจะต้องปรับปรุงผลิตภัณฑ์และการทำตลาดให้เข้ากับแต่ละประเทศ ขั้นตอนในการวิเคราะห์ตลาดต่างประเทศมีดังนี้ 1.ศึกษาปัจจัยทางธุรกิจของประเทศนั้น ปัจจัยภายนอกของแต่ละประเทศไม่เหมือนกัน หากเราจะศึกษา ต้องมีแง่มุมในการวิเคราะห์ ซึ่งในเชิงบริหารธุรกิจมีหลายปัจจัย แต่โมเดลที่น่าสนใจและมีคนนิยมมาก คือ Five Force Model ซึ่งจะวิเคราะห์จาก 5 ปัจจัย ได้แก่ 1) สภาวะการแข่งขันในตลาดนั้นๆ 2) ความยากง่ายของการเข้าตลาด 3) สินค้าทดแทน 4) สินค้าต้นน้ำมีอำนาจมากน้อยแค่ไหน และ 5) อำนาจต่อรองของลูกค้า หากวิเคราะห์ออกมาแล้วได้คะแนนไม่มาก ก็สามารถใช้ตลาดเหล่านั้นในการเลือกเพื่อเริ่มต้นได้เลย 2.วิเคราะห์ความต้องการของสินค้า หากคุณกำลังคิดว่าสินค้าไทยเป็นสินค้าดี นั่นไม่ผิด แต่ถ้าหากคิดว่าสินค้าไทยเป็นที่ต้องการของคนทั่วโลก นั่นอาจจะคิดผิด โดยธรรมชาติของนักธุรกิจไทย มักจะเข้าข้างสินค้าตัวเองว่าดี เจ๋ง แต่พอลงตลาดกลับขายไม่ออก เนื่องจากไม่สามารถชูจุดเด่นหรือจุดขายได้ หรือหากรู้จุดดังกล่าว กลับกลายเป็นว่าลูกค้าไม่ซื้อเพราะไม่ได้ต้องการสินค้าของเรา ผู้ประกอบการควรใช้เวลาวิเคราะห์สินค้าก่อนว่ามีความต้องการจริงมั้ย หรือความต้องการสินค้าคืออะไรกันแน่ แล้วค่อยไปดูว่าเราสามารถทำอะไรเพื่อพิชิตใจลูกค้าได้บ้าง นั่นน่าจะเป็นคำตอบที่ดีกว่า 3.วิเคราะห์ความยากง่ายของการนำสินค้าเข้าประเทศนั้น ในบางประเทศ มีสินค้าน่าสนใจ ตลาดน่าสนใจ มีความต้องการสินค้าไทย แต่กลับไม่ค่อยมีใครนำเข้าไปขายเท่าไหร่ อีกปัจจัยอาจจะเป็นเรื่องของกฎระเบียบในการนำเข้าสินค้านั้นๆ ด้วย ฉะนั้น ผู้ประกอบการต้องคำนึงถึงกฎระเบียบ ขั้นตอนในการนำเข้าสินค้า รวมถึงภาษีนำเข้าของประเทศนั้นๆ ก่อนจะนำสินค้าเข้าไปขายจริง เมื่อวิเคราะห์ตลาดได้แล้ว ก็ได้เวลาลงมือวางแผนผลิตภัณฑ์กันต่อได้เลยครับ สนใจเรียนนำเข้าส่งออก อ่านที่นี่
Read Moreขั้นตอนการส่งสินค้าไปต่างประเทศ
ตรวจสอบเอกสารและสัญญา ผลิตสินค้า ขอใบรับรองต่างๆ เกี่ยวกับสินค้า จองเรือ จองเครื่องบิน ส่งสินค้าลงพาหนะ ขอใบรับรองถิ่นกำเนิด ส่งเอกสารทั้งหมดให้ผู้ซื้อ วางบิลและรับชำระเงิน
Read More