ยื่นเอกสารสำคัญเพื่อวางบิลเก็บเงิน เช่น Letter of Credit / Bill of Ladng ธนาคารผู้ขายตรวจเอกสาร แล้วส่งให้ธนาคารผู้ซื้อ ธนาคารผู้ซื้อรับเรื่องเพื่อดำเนินการชำระเงิน และติดต่อผู้ซื้อ ผู้ซื้อ หรือ ธนาคารโอนชำระเงินมายังธนาคารผู้ขาย ธนาคารผู้ขายโอนเงินมายังผู้ขาย ผู้ขายออกเอกสารที่จำเป็นสำหรับการรับชำระเงิน
Read MoreAuthor: admin
ตลาดส่งออกทุเรียนของไทย
10 อันดับประเทศที่ไทยส่งออกทุเรียนไปมากที่สุด จีน สหรัฐอเมริกา แคนาดา ฮ่องกง ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ เยอรมนี ฝรั่งเศส สิงคโปร์ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ คู่แข่งการส่งออกทุเรียนของไทย เวียดนาม มาเลเซีย อินโดนีเซีย กัมพูชา ฟิลิปปินส์ อ่านเพิ่มเติม ขั้นตอนการส่งออกทุเรียน
Read Moreทำความเข้าใจกับขั้นตอนการส่งออกสินค้าของกรมศุลกากร
ผู้นำเข้าส่งออกหรือผู้สนใจหลายท่านอาจพบปัญหาในการทำงานร่วมกับเจ้าหน้าที่ศุลกากรเนื่องจากมีข้อกำหนด กฎหมายและขั้นตอนพิธีการมากมาย ทำให้ไม่สะดวก แต่เนื่องการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่กรมศุลกากรมีขั้นตอนและกฎหมายบังคับชัดเจน จึงต้องทำความเข้าใจให้เป็นอย่างดี ในบทความนี้ผู้เขียนจะมาอธิบายขั้นตอนหรือแนวปฏิบัติที่เราต้องรู้จักกรมศุลกากรให้มากขึ้นกันครับ ประเภทสินค้าส่งออก กรมศุลกากรให้คำจำกัดความของสินค้าส่งออก โดยแบ่งเป็น 3 ประเภท ได้แก่ สินค้ามาตรฐาน – ต้องทำให้เป็นมาตรฐานก่อนส่งออก สินค้าควบคุม – ต้องขออนุญาตหรือลงทะเบียนก่อนส่งออก สินค้าเสรี – ส่งออกได้เลย ไม่ต้องใช้การควบคุมตาม 2 ประเภทข้างต้น ซึ่งการแบ่งประเภทสินค้าเหล่านี้ เพื่อเป็นการง่ายต่อการปฏิบัติงาน ในเรื่องของเอกสารและขั้นตอนต่างๆ สำหรับผู้อยากศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับสินค้าเหล่านี้ ให้ค้นหาที่ พรบ. ส่งออกไปนอก และนำเข้ามาในราชอาณาจักร ได้เลยครับ
Read Moreขั้นตอนการส่งออกทุเรียน
ขั้นตอนการส่งออกทุเรียน ผู้ส่งออกจดทะเบียนขอเป็นผู้ส่งออกทุเรียนสด ที่สำนักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐาน กรมวิชาการเกษตร ตรวจสอบสิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากร และขอหนังสือรับรองถิ่นกำเนิดสินค้า ที่กรมการค้าต่างประเทศ ขอเอกสารเพิ่มเติม เช่น Health Certificate, Phytosanitary Certificate ดำเนินพิธีศุลกากร รับสิทธิประโยชน์ทางศุลกากร
Read More10 อันดับ สินค้าส่งออกของไทยในปี 2566
สินค้าส่งออกของไทยปี 2566 10 อันดับแรก ได้แก่ รถยนต์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ คอมพิวเตอร์ และส่วนประกอบ อัญมณีและเครื่องประดับ ผลิตภัณฑ์ยาง น้ำมันสำเร็จรูป แผงวงจรไฟฟ้า เม็ดพลาสติก เครื่องจักรกลและส่วนประกอบ เคมีภัณฑ์ เหล็กและผลิตภัณฑ์
Read Moreการหาลูกค้าต่างประเทศ
ในการทำตลาดกับต่างประเทศนั้น เราสามารถหาช่องทางการทำตลาดได้หลายช่องทาง มีดังนี้ การหารายชื่อผู้นำเข้า (Importer List) ในการนำเข้าส่งออกนั้น เราสามารถหารายชื่อลูกค้าได้ตามแหล่งข้อมูลต่างๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน มีทั้งแบบฟรีและไม่ฟรี ซึ่งการหารายชื่อลูกค้านี้เราต้องพิจารณาในเรื่องความต้องการของลูกค้า ซึ่งบางรายอาจจะต้องการหรือไม่ต้องการสินค้าเราก็เป็นได้ สำหรับแหล่งเอกชนที่มีรายชื่อลูกค้านั้น มีหลายช่องทางและบริษัททั้งในและต่างประเทศ เป็นแหล่งที่ให้บริการข้อมูลผู้นำเข้า เบอร์ติดต่อ รวมถึงสินค้าที่บริษัทเหล่านั้นนำเข้าอีกด้วย การออกงานแสดงสินค้า (Exhibition) อีกช่องทางหนึ่งที่เป็นอันรู้จักกันอย่างแพร่หลายคือการออกงานแสดงสินค้า งานแสดงสินค้านั้นมีหลายรูปแบบไม่ว่าจะเป็นงานเฉพาะหมวดหมู่สินค้า หรืองานที่มีหลากหลายสินค้า งานแฟร์ในประเทศ และต่างประเทศ รวมถึงงานแฟร์แบบขายในรูปแบบบริษัทเท่านั้น (B2B) หรืองานขายปลีกด้วย ซึ่งเราต้องพิจารณาให้เหมาะสมทั้งเรื่องกลุ่มคนมาเดิน ค่าใช้จ่าย และโอกาสในการพบปะลูกค้า การเข้าร่วมเจรจาทางธุรกิจ (Business Matching) การเข้าร่วมเจรจาทางธุรกิจนั้น คือ การที่มีผู้ประสานงานทำการนัดหมายระหว่างผู้นำเข้า และผู้ส่งออก เพื่อมาเจอกันในงาน เมื่อมาถึงในงานก็มีการนั่งโต๊ะเจรจากันในเรื่องสินค้าและช่องทางการจัดจำหน่ายสินค้า ในบางครั้งมีไปถึงการร่วมทุนทำธุรกิจกันด้วย อย่างไรก็ตาม ผลของการเจรจาทางธุรกิจหากให้มีผลดี ควรต้องทำให้คู่ค้าเราจำสินค้าให้ได้ เพราะอย่าลืมว่าคู่ค้าเราไม่ได้เจอเราแค่คนเดียวนั่นเอง การไปพบปะด้วยตนเอง (Direct Visit) การไปหาลูกค้าด้วยตัวเอง เป็นวิธีการที่ดีมากและมีประสิทธิภาพ เพียงแต่ต้องใช้เวลาและค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปพบลูกค้า หากบริษัทส่งออกมีงบตรงนี้ก็เป็นประโยชน์อย่างมาก การตลาดออนไลน์ (Online Marketing) ในยุคปัจจุบันการมีตัวตนบนโลกออนไลน์ไม่ว่าคุณจะเป้นบริษัทระดับไหนก็ตามเป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่ง หากเราสามารถทำการตลาดออนไลน์ได้ เราจะเป็นผู้ที่ได้รับการตอบรับจากลูกค้าเป็นอย่างดี โดยท่านสามารถศึกษาแต่ละช่องทางเพิ่มเติมตามหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้เลย หรืออยากหาทางลัด สามารถศึกษากับสถาบันของเราได้ โดยดูรายละเอียดคอร์สเรียนที่นี่ครับ >> คอร์สเรียนนำเข้าส่งออก
Read Moreการส่งออกข้าวไปต่างประเทศ
ผู้ประสงค์ส่งออกข้าว พิกัดศุลกากร : 1006.10 1006.20 1006.30 และ 1006.40 (สำหรับข้าวเปลือกและรำข้าวในหลักการไม่อนุญาตให้ส่งออก) ได้จำแนกการส่งออกข้าวเป็น 3 ประเภท คือ 1) การส่งออกข้าวทั่วไป 2) การส่งออกข้าวไปสหภาพยุโรป 3) การส่งออกไปต่างประเทศที่มิใช่เพื่อการค้า 1) การส่งออกข้าวทั่วไป การส่งออกข้าวไปจำหน่ายต่างประเทศ อนุญาตให้ส่งออกโดยไม่จำกัด จำนวน ทั้งนี้ผู้ส่งออกจะต้องมีคุณสมบัติตามประกาศของคณะกรรมการ ปฏิบัติการตามพระราชบัญญัติการค้าข้าว พ.ศ. 2489 (ปกข.) กำหนดให้ ผู้ประกอบการฯ ต้องขออนุญาตประกอบการค้าข้าวประเภทค้าข้าวส่งไปจำหน่าย ต่างประเทศ ที่กรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ ก่อนจึงจะทำการค้าข้าวได้ โดยมีคุณสมบัติและเงื่อนไข ดังนี้
Read Moreขั้นตอนการส่งออกข้าวโพด
ขั้นตอนการส่งออกข้าวโพด สนใจคอร์สเรียนนำเข้าส่งออก อ่านที่นี่ สนใจคอร์สเริ่มต้นนำเข้าส่งออก คลิกที่นี่
Read Moreขั้นตอนการส่งออกผลไม้ไปญี่ปุ่น
ขั้นตอนการส่งออกผลไม้ไปญี่ปุ่น สนใจคอร์สเรียนนำเข้าส่งออก อ่านที่นี่ สนใจคอร์สเริ่มต้นนำเข้าส่งออก คลิกที่นี่
Read Moreขั้นตอนการส่งออกของเล่นไม้
ขั้นตอนการส่งออกของเล่นไม้ สนใจคอร์สเรียนนำเข้าส่งออก อ่านที่นี่ สนใจคอร์สเริ่มต้นนำเข้าส่งออก คลิกที่นี่
Read More