มาตรฐานสินค้าที่น่าสนใจ

มาตรฐานหลักของสินค้าไทย

  1. มอก
  2. GMP
  3. HACCP
  4. Q
  5. FDA
  6. ISO
  7. Halal

มาตรฐานอุตสาหกรรม คู่ค้าแต่ละประเทศ

•British Standard (BS) เป็นมาตรฐานของประเทศอังกฤษ

•German Industrial Standard (DIN) เป็นมาตรฐานของประเทศเยอรมัน

•Japanese Industrial Standard (JIS) เป็นมาตรฐานของประเทศญี่ปุ่น

•American National Standard Institute (ANSI) เป็นมาตรฐานของประเทศสหรัฐอเมริกา

•Thailand Industrial Standard (TIS) เป็นมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (มอก.) ของประเทศไทย

•VerbandDeutscherElektrotechniker(VDE) เป็นมาตรฐานของกลุ่มวิศวกรไฟฟ้าในประเทศเยอรมนี

•Keuringvan ElektrotechnischeMaterialen(KEMA) เป็นมาตรฐานการทดสอบของประเทศเนเธอร์แลนด์

•International Electrotechnical Commission (IEC) เป็นมาตรฐานขององค์กรระหว่างประเทศที่จัดทามาตรฐานทางด้านไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์

•African Regional Standards Organization (ARSO ) เป็นองค์การมาตรฐานแห่งภูมิภาคแอฟริกา

•RoHS (The Restriction of The Use of Certain Hazardous Substance In Electrical and Electronic Equipment) เป็นระเบียบของสหภาพยุโรปหรือ EU (The European Union) ว่าด้วยเรื่องของการห้ามใช้สารเคมีอันตรายในผลิตภัณฑ์ไฟฟฟ้าและเล็กทรอนิกส์

•WEEE (Waste from Electrical and Electronic Equipment) เป็นมาตรฐานที่ว่าด้วยการกาจัดซากผลิตภัณฑ์ไฟฟ้าและอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ มีการห้ามนาเอาสารเคมีอันตราย 6 ชนิดเข้ามาใช้ในเครื่องใช้ไฟฟ้าและเครื่องอิเล็กทรอนิกส์ คือ ปรอท (Hg) ตะกั่ว (Pb), แคดเมียม (Cd), โครเมียม เฮกซะวาเลนต์ (Cr(Vl) ), โพลิโบรมิเนต-ไบฟินิล (PBB) และโพลิโบรมิเนต-ไดฟินิล-อีเทอร์ (PBDE)

•Codex Alimentarius Commission (CAC) เป็นคณะกรรมการมาตรฐานอาหารระหว่างประเทศ

•GAP (Good Agricultural Practice) เป็นมาตรฐานการผลิตสินค้าการเกษตร โดยจะถูกกาหนดด้วยหน่วยงานต่างๆ มีกระทรวงเกษตรฯ เป็นผู้บังคับใช้กับทางผู้ประกอบการสินค้าเกษตรภายในประเทศ

•GMP(Good Manufacturing Practice) เป็นมาตรฐานที่เกี่ยวกับการผลิตเครื่องมือเครื่องใช้สาหรับผลิตและเก็บรักษาอาหาร มีกระทรวงสาธารณสุขเป็นผู้กาหนดและบังคับใช้กับผู้ประกอบการโรงงานอาหารภายในประเทศ

•HACCP (Hazard Analysis Critical Control Point) เป็นมาตรฐานที่เน้นคามปลอดภัยด้านสุขอนามัยอาหาร มีการกาหนดโดย Codex Alimentarius ซึ่งมีการบังคับใช้กับผู้ประการในโรงงานอาหารส่งออก ในกลุ่มประเทศยุโรป ญี่ปุ่น สหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์

•ISO เป็นมาตรฐานที่กาหนดโดย Codex Alimentarius บังคับกับผู้ประกอบการอาหารส่งออก

•SQF2000 เป็นมาตรฐานที่กาหนดโดย Codex Alimentarius กับผู้ประกอบการโรงงานอาหารส่งออกของประเทศสหรัฐอเมริกา

•Animal Welfare เป็นมาตรการคุ้มครองสวัสดิภาพสัตว์ ถูกกาหนดภายใต้กลุ่มประเทศของสหภาพยุโรป สาหรับฟาร์มและสถานที่เลี้ยงสัตว์

•GMOs (Genetically modified organisms) เป็นมาตรฐานที่เกี่ยวข้องกับการใช้สินค้าหรือวัตถุดิบมาทาการดัดแปลงพันธุกรรม ถูกกาหนดโดยประเทศในสหภาพยุโรปบางประเทศ บังคับใช้กับโรงงานอาหารสัตว์

•NFPA (National Fire Protection Association) เป็นมาตรฐานในการป้องกันอัคคีภัย

•ASME = American Society of Mechanical Engineers

•ASTM = American Society of Testing and Material

•AWWA = American Water Work Association

•API = American Petroleum Institute

•IP = The Institute of Petroleum

•CTFA = Cosmetic, Toiletry and FrangranceAssociation, Inc.,

•CODE = Codex Alimentarius Commission –CAC

ระบบมาตรฐานสากล ได้แก่

●ISO9001 (ระบบมาตรฐานการบริหารงานคุณภาพ) เหมาะสาหรับ ทุกประเภทกิจการ

●ISO14001 (ระบบมาตรฐานการจัดการสิ่งแวดล้อม) เหมาะสาหรับ ทุกประเภทกิจการ

●GHP Codex (หลักเกณฑ์และวิธีการที่ดี ในการผลิตอาหาร) เหมาะสาหรับ โรงงานผลิตอาหาร บรรจุภัณฑ์อาหาร

●HACCP (ระบบวิเคราะห์อันตรายและจุดวิกฤตที่ต้องควบคุม) ) เหมาะสาหรับ โรงงานผลิตอาหาร บรรจุภัณฑ์อาหาร

●ISO22000 (ระบบมาตรฐานความปลอดภัยของอาหาร) เหมาะสาหรับ โรงงานผลิตอาหาร บรรจุภัณฑ์อาหาร

●ISO22716 (ระบบการจัดการด้านสุขลักษณะที่ดีในการผลิตเครื่องสาอาง) เหมาะสาหรับโรงงานผลิตเครื่องสาอาง

●ISO50001 (ระบบมาตรฐานการจัดการพลังงานระดับสากล) เหมาะสาหรับองค์กรที่ใช้ไฟเยอะ ๆ เช่น โรงแรม , ศูนย์ประชุม

●ISO45001 (ระบบการจัดการชีวอนามัยและความปลอดภัย) ) เหมาะสาหรับ ทุกประเภทกิจการ

●FSSC22000 (มาตรฐานระบบการจัดการความปลอดภัยทางอาหาร) ) เหมาะสาหรับ โรงงานผลิตอาหาร บรรจุภัณฑ์อาหาร

●ISO/IEC27001 (ระบบบริหารความมั่นคงปลอดภัยของปลอดภัยของสารสนเทศ) เหมาะสาหรับ ธนาคาร , บริษัทประกันภัย , โรงพยาบาล

●ISO13485 (ระบบการจัดการคุณภาพอุปกรณ์การแพทย์) เหมาะสาหรับ โรงงานผลิตอุปกรณ์การแพทย์ หรือนาเข้าอุปกรณ์การแพทย์

●GDP (ระบบมาตรฐานการกระจายยา) เหมาะสาหรับ ผู้นาเข้ายา

●HALAL  เหมาะสาหรับโรงงานผลิตอาหาร

●และระบบมาตรฐานอื่น ๆ

error: Content is protected !!