ขั้นตอนการวิเคราะห์ตลาดส่งออก

ในการเลือกประเทศเป้าหมายเพื่อส่งออกสินค้านั้น ต้องพิจารณาในหลายๆ ปัจจัย โดยแต่ละประเทศมีความแตกต่างกันในด้านของ สังคมและวัฒนธรรม ภาษา ประชากรศาสตร์ ภูมิศาสตร์ ระบบกฎหมาย เศรษฐกิจ ข้อบังคับทางการค้า อัตราภาษี นโยบายทางการค้า อัตราแลกเปลี่ยน ฯลฯ ซึ่งผู้ส่งออกจะต้องปรับปรุงผลิตภัณฑ์และการทำตลาดให้เข้ากับแต่ละประเทศ ขั้นตอนในการวิเคราะห์ตลาดต่างประเทศมีดังนี้ 1.ศึกษาปัจจัยทางธุรกิจของประเทศนั้น ปัจจัยภายนอกของแต่ละประเทศไม่เหมือนกัน หากเราจะศึกษา ต้องมีแง่มุมในการวิเคราะห์ ซึ่งในเชิงบริหารธุรกิจมีหลายปัจจัย แต่โมเดลที่น่าสนใจและมีคนนิยมมาก คือ Five Force Model ซึ่งจะวิเคราะห์จาก 5 ปัจจัย ได้แก่ 1) สภาวะการแข่งขันในตลาดนั้นๆ 2) ความยากง่ายของการเข้าตลาด 3) สินค้าทดแทน 4) สินค้าต้นน้ำมีอำนาจมากน้อยแค่ไหน และ 5)…

ขั้นตอนการเรียกเก็บเงินจากต่างประเทศ

ยื่นเอกสารสำคัญเพื่อวางบิลเก็บเงิน เช่น Letter of Credit / Bill of Ladng ธนาคารผู้ขายตรวจเอกสาร แล้วส่งให้ธนาคารผู้ซื้อ ธนาคารผู้ซื้อรับเรื่องเพื่อดำเนินการชำระเงิน และติดต่อผู้ซื้อ ผู้ซื้อ หรือ ธนาคารโอนชำระเงินมายังธนาคารผู้ขาย ธนาคารผู้ขายโอนเงินมายังผู้ขาย ผู้ขายออกเอกสารที่จำเป็นสำหรับการรับชำระเงิน  

ตลาดส่งออกทุเรียนของไทย

10 อันดับประเทศที่ไทยส่งออกทุเรียนไปมากที่สุด จีน สหรัฐอเมริกา แคนาดา ฮ่องกง ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ เยอรมนี ฝรั่งเศส สิงคโปร์ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ คู่แข่งการส่งออกทุเรียนของไทย เวียดนาม มาเลเซีย อินโดนีเซีย กัมพูชา ฟิลิปปินส์   อ่านเพิ่มเติม ขั้นตอนการส่งออกทุเรียน

ขั้นตอนการส่งออกทุเรียน

                                ขั้นตอนการส่งออกทุเรียน ผู้ส่งออกจดทะเบียนขอเป็นผู้ส่งออกทุเรียนสด ที่สำนักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐาน กรมวิชาการเกษตร ตรวจสอบสิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากร และขอหนังสือรับรองถิ่นกำเนิดสินค้า ที่กรมการค้าต่างประเทศ ขอเอกสารเพิ่มเติม เช่น Health Certificate, Phytosanitary Certificate ดำเนินพิธีศุลกากร รับสิทธิประโยชน์ทางศุลกากร

10 อันดับ สินค้าส่งออกของไทยในปี 2566

            สินค้าส่งออกของไทยปี 2566 10 อันดับแรก ได้แก่ รถยนต์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ คอมพิวเตอร์ และส่วนประกอบ อัญมณีและเครื่องประดับ ผลิตภัณฑ์ยาง น้ำมันสำเร็จรูป แผงวงจรไฟฟ้า เม็ดพลาสติก เครื่องจักรกลและส่วนประกอบ เคมีภัณฑ์ เหล็กและผลิตภัณฑ์

การส่งออกข้าวไปต่างประเทศ

ผู้ประสงค์ส่งออกข้าว พิกัดศุลกากร : 1006.10 1006.20 1006.30 และ 1006.40 (สำหรับข้าวเปลือกและรำข้าวในหลักการไม่อนุญาตให้ส่งออก) ได้จำแนกการส่งออกข้าวเป็น 3 ประเภท คือ 1) การส่งออกข้าวทั่วไป 2) การส่งออกข้าวไปสหภาพยุโรป 3) การส่งออกไปต่างประเทศที่มิใช่เพื่อการค้า 1) การส่งออกข้าวทั่วไป การส่งออกข้าวไปจำหน่ายต่างประเทศ อนุญาตให้ส่งออกโดยไม่จำกัด จำนวน ทั้งนี้ผู้ส่งออกจะต้องมีคุณสมบัติตามประกาศของคณะกรรมการ ปฏิบัติการตามพระราชบัญญัติการค้าข้าว พ.ศ. 2489 (ปกข.) กำหนดให้ ผู้ประกอบการฯ ต้องขออนุญาตประกอบการค้าข้าวประเภทค้าข้าวส่งไปจำหน่าย ต่างประเทศ ที่กรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ ก่อนจึงจะทำการค้าข้าวได้ โดยมีคุณสมบัติและเงื่อนไข ดังนี้

error: Content is protected !!