สนใจคอร์สเรียนนำเข้าส่งออก อ่านที่นี่ สนใจคอร์สเริ่มต้นนำเข้าส่งออก คลิกที่นี่
Read MoreCategory: ขั้นตอนการดำเนินพิธีทางศุลกากร
คลังสินค้าทัณฑ์บน (Bonded Warehouse)
สนใจคอร์สเรียนนำเข้าส่งออก อ่านที่นี่ สนใจคอร์สเริ่มต้นนำเข้าส่งออก คลิกที่นี่
Read Moreการค้นหาพิกัดอัตราศุลกากร
ค้นหาพิกัดอัตราศุลกากร อีกสิ่งที่เราต้องรู้ในการนำเข้าส่งออกสินค้าคือ พิกัดอัตราศุลกากร หรือ Harmonized System Code (H.S. Code) เรียกย่อๆ ว่า HS Code ซึ่งมีความจำเป็นอย่างมากในการนำเข้าส่งออกให้ถูกต้องตามพิธีการศุลกากร รวมถึงเป็นประโยชน์ในการหาข้อมูลนำเข้าส่งออกอีกด้วย HS Code คืออะไร ขึ้นชื่อว่าสินค้าที่ค้าขายกันทั่วโลกนั้น มีเป็นล้านๆ รายการ และหากสินค้าทั้งหลายเหล่านั้น ถูกนำเข้ามา คงต้องเหนื่อยศุลกากรในการหาว่าสินค้าตัวไหน ต้องคิดภาษีนำเข้าเท่าไหร่ ยังไม่นับว่าส่งออกมาจากประเทศไหนด้วย องค์การศุลกากรโลก (World Customs Organization – WCO) จึงได้หาแนวทางในการจัดหมวดหมู่สินค้าทุกอย่างบนโลกใบนี้ที่มีการค้าขายกัน และใส่รหัสสินค้าให้กับสินค้าเหล่านั้น โดยใช้ชื่อว่า Harmonized System Code เรียกย่อว่า HS Code สินค้านำเข้าส่งออกจัดหมวดหมู่อย่างไร ในการจัดการสินค้าเหล่านั้น ได้มีการแบ่งหมวดหมู่กัน โดยอาศัยหลักการของลักษณะภายนอกของสินค้า ทางกายภาพ วัสดุ ส่วนประกอบ การใช้งาน มาเป็นตัวแบ่งหมวดหมู่ ยกตัวอย่างเช่น มะพร้าว หากมาทั้งเปลือกทั้งลูก จะถูกจัดอยู่ในหมวดหมู่ผลไม้ แต่หากนำไปสกัดเป็นน้ำมันมะพร้าว จะถูกจัดกลุ่มในหมวดน้ำมันพืช ทำจากมะพร้าว หรือสัตว์มีชีวิต หากถูกฆ่าแล้ว ก็จะถูกจัดอยู่ในหมวดซากสัตว์ (สัตว์ไม่มีชีวิต) เป็นต้น HS Code มีประโยชน์อย่างไร การจัดหมวดหมู่สินค้านี้ ทำให้ง่ายต่อการระบุประเภทสินค้า เพื่อใช้ระบุว่าสินค้าใดควรเสียภาษีนำเข้า (อากรขาเข้า) เท่าไหร่ อย่างไร นอกจากนี้ยังเป็นการรวบรวมสถิติการนำเข้าส่งออกของแต่ละประเทศอีกด้วย การจัดหมวดหมู่นี้ยังเป็นประโยชน์ในด้านการแยกหมวดสินค้าให้ง่ายขึ้นในด้านการวิเคราะห์ทางการตลาดอีกด้วย HS Code มีกี่ประเภท จัดลำดับอย่างไร ในการจัดหมวดหมู่นี้ สินค้าทุกอย่างจะมีพิกัดของมัน และจะถูกแบ่งหมวดหมู่เรียงกันตามลักษณะของสินค้า โดยใช้ตัวเลขเป็นตัวบอกรหัสทีละคู่ไล่ไปตั้งแต่ 01 ถึง 99 ดังนี้ รหัสพิกัด 2 หลัก เรียกว่า ตอน (Chapter) ตั้งแต่รหัส…
Read Moreการส่งออกสินค้าทางไปรษณีย์
การส่งออกสินค้าทางไปรษณีย์ สนใจคอร์สเรียนนำเข้าส่งออก อ่านที่นี่ สนใจคอร์สเริ่มต้นนำเข้าส่งออก คลิกที่นี่
Read Moreการประกันภัยการขนส่งระหว่างประเทศ
การประกันภัยการขนส่งระหว่างประเทศ ในการขนส่งระหว่างประเทศ มีหลากหลายช่องทาง ไม่ว่าจะเป็นทางรถ ทางเรือ และทางเครื่องบิน ซึ่งแต่ละช่องทางจะมีลักษณะเฉพาะต่างกัน ซึ่งผู้นำเข้าส่งออกควรศึกษารายละเอียดให้ถ่องแท้เพื่อใช้ความคุ้มครองประกันภัยได้อย่างคุ้มค่าอีกด้วย
Read Moreเขตปลอดอากร (Free Zone)
เขตปลอดอากร (Free Zone) สนใจคอร์สเรียนนำเข้าส่งออก อ่านที่นี่ สนใจคอร์สเริ่มต้นนำเข้าส่งออก คลิกที่นี่
Read Moreรู้จักกรมศุลกากร
กรมศุลกากร สำหรับผู้ที่อยู่ในวงการนำเข้าส่งออก หรือผู้สนใจนำเข้าส่งออก น่าจะเคยได้ยินหน่วยงานที่ชื่อว่า ศุลกากร ซึ่งในไทยมีสถานะเป็นกรม ชื่อว่า กรมศุลกากร กันแล้ว แล้วกรมศุลกากรนี้เป็นใคร ทำหน้าที่อะไร เกี่ยวข้องกับการนำเข้าส่งออกอย่างไร เรามาเจาะลึกกันในบทความนี้ครับ
Read Moreการชดเชยค่าภาษีอากร
การชดเชยค่าภาษีอากร สนใจคอร์สเรียนนำเข้าส่งออก อ่านที่นี่ สนใจคอร์สเริ่มต้นนำเข้าส่งออก คลิกที่นี่
Read Moreนิคมปลอดอากร (I-EAT)
นิคมปลอดอากร (I-EAT) สนใจคอร์สเรียนนำเข้าส่งออก อ่านที่นี่ สนใจคอร์สเริ่มต้นนำเข้าส่งออก คลิกที่นี่
Read Moreหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการนำเข้าส่งออก
ในการทำนำเข้าส่งออกนั้น เราจะต้องประสานงานกับหน่วยงานต่าง ๆ ด้วยหลากหลายวัตถุประสงค์ เช่น หากเราต้องการติดต่อด้านการตลาดเราก็ต้องไปหาหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการตลาดหรือบางครั้ง หากเราต้องการติดต่อด้านเอกสารก็ต้องไปให้ถูกหน่วยงานเป็นต้นซึ่งหน่วยงานแต่ละหน่วยงานนั้นมีทั้งของภาครัฐและเอกชนให้บริการไม่เหมือนกันประสงค์ต่างกัน สำหรับมือใหม่ในการนำเข้าส่งออกนั้นเราจะต้องติดต่อใครบ้างไปดูกันเลยครับ
Read More